วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554
งานแบนเนอร์
ชื่อศิลปิน 4 minute
แนวเพลง pop dance
คอนเซป smart girl
อารมณ์ ซ่า/สนุกสนาน/มั่นใจ
ฟ้อนที่ใช้ Broadway bt / impact / fixdsy
วันเสาร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554
รูปแบบการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในงานโฆษณา
รูปภาพแสดงว่าคนที่ไม่มีหัวคุยโทรศัพท์ซึ่งเป็นการใช้ภาพเหนือจริง
1. การอุปมาทางการเห็น (Visual Metaphor)
เป็นการอุปมาเปรียบเทียบระหว่างรูปของเต้าเสียบไฟกับหมีแพนด้าซึ่งสื่อถึงทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานไฟฟ้าก็เป็นทรัพยากรธรรมชาติเช่นเดียวกัน ถ้าเรานำปลั๊กไฟไปเสียบกับเต้าเสียบก็เท่ากับเราใช้พลังงานไฟฟ้าและทรัพยากรธรรมธรรมชาติไปพร้อมกัน
เป็นการอุปมาเปรียบเทียบระหว่างรูปของเต้าเสียบไฟกับหมีแพนด้าซึ่งสื่อถึงทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานไฟฟ้าก็เป็นทรัพยากรธรรมชาติเช่นเดียวกัน ถ้าเรานำปลั๊กไฟไปเสียบกับเต้าเสียบก็เท่ากับเราใช้พลังงานไฟฟ้าและทรัพยากรธรรมธรรมชาติไปพร้อมกัน
2. การใช้ภาพเหนือจริง (Surrealism)
รูปภาพแสดงว่าคนที่ไม่มีหัวคุยโทรศัพท์ซึ่งเป็นการใช้ภาพเหนือจริง
3การสร้างความคิดผิดปกติจากของจริง( Violating Reality )
: โฆษณา กล้องถ่ายรุปที่เน้น คอนเซป ของผลิตภัณฑ์ ความสามารถในด้าน การ ซูม
ถ่ายภาพ ซูมลงมาจากเครื่องบิน
: โฆษณา กล้องถ่ายรุปที่เน้น คอนเซป ของผลิตภัณฑ์ ความสามารถในด้าน การ ซูม
ถ่ายภาพ ซูมลงมาจากเครื่องบิน
4.การรวมกันเข้าของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน(Morphing,Blending and Merging)
ภาพนี้สื่อให้เห็นว่ารถบรรทุกโฟร์คสวาเก้นมีขนาดเหมาะสมตามความต้องการใช้งานของคุณ
5 การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย (Subjective Camera )
ภาพ จะ บังคับให้เรา ดู ส่วนขาของคนที่เล่นสไลเดอรืเป็นอันดับแรก หลังจาก นั้น จะ ภาพ จะ บีบ ให้เราดู ส่วน ต่างๆ ของ
สวนน้ำ
ภาพ จะ บังคับให้เรา ดู ส่วนขาของคนที่เล่นสไลเดอรืเป็นอันดับแรก หลังจาก นั้น จะ ภาพ จะ บีบ ให้เราดู ส่วน ต่างๆ ของ
สวนน้ำ
6. การล้อเลียน (Visual Parodies)
เป็นภาพล้อเลียน มาริโอ้ซึ่งเป็นHero ในการ์ตูน แต่อีกภาพหนึ่งไม่ใช่มาริโอ้ แต่มีลักษณะคล้ายกัน ซึ่งจะมีอะไรบางอย่างผิดแปลกไปจากเดิมหรือดูแปลกไปจากสิ่งที่เคยเห็น7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ (Unusual Size)
เป็นภาพของเด็กกำลังกัดแตงโมที่มีขนาดใหญ่ แตงโมนั้นใหญ่เท่าเด็กหรืออาจใหญ่กว่าเด็ก
โรงพยาบาลกรุงเทพ
2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T
ในอดีตนั้นโรงพยาบาลของรัฐมีน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น โรงพยาบาลกรุงเทพจึงถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 จากความตั้งใจของคณะแพทย์และเภสัชกรที่มีอุดมการณ์ ปรารถนาที่จะให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อรองรับผู้ป่วย ด้วยเตียงผู้ป่วยเพียง 100 เตียง พร้อมด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและพยาบาล
โรงพยาบาลกรุงเทพ ได้ขยายเครือข่ายรวม 13 สาขา โรงพยาบาลครอบคลุมพื้นที่ให้บริการแทบทุกภูมิภาคของไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทาง บุคลากรมืออาชีพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เพรียบพรัอมด้วยบริการฉุกเฉินและบริการพิเศษเหนือระดับ สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อสนองตอบทุกความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
วันนี้โรงพยาบาลกรุงเทพยึดมั่นคุณลักษณะดังกล่าวและนำมายกระดับการให้บริการทางการแพทย์ พร้อมด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย กับการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ปรากฏภาพแห่งความสำเร็จเด่นชัดจากอัตราเติบโตทางธุรกิจของเรา ซึ่งยืนหยัดอย่างมั่นคงแข็งแรงในฐานะโรงพยาบาลเอกชนผู้ให้บริการทางการแพทย์ครบวงจรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
จุดแข็ง : เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และเป็นสถานพยาบาลซึ่งประชาชนให้ความไว้วางใจและเชื่อมั่นในคุณภาพจุดอ่อน : ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลค่อนข้างสูง จึงทำให้กลุ่มเป้าหมายมีวงแคบอยู่ในผู้ที่มีสถานะทางการเงินค่อนข้างดี
โอกาส : สังคมในปัจจุบันผู้คนนั้นมีโรคประจำตัวกันค่อนข้างมาก ถ้าไปรักษาที่คลีนิคนั้นมักจะไม่มีแพทย์เฉพาะทาง ไม่เหมือนโรงพยาบาลกรุงเทพที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมากกว่า
ปัญหา : เศรษฐกิจไทยในปัจจุบันนี้ค่อนข้างแย่และโรงพยาบาลนี้เป็นโรงพยาบาลที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงจึงเหมาะสำหรับผู้ที่มีสถานะทางการเงินที่สูงเท่านั้น
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
- เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรฐานและเลือกโรงพยาบาลกรุงเทพทำการรักษา
- เพื่อสร้างการรับรู้ในคุณสมบัติที่โดดเด่นทางสาขาสถานพยาบาล
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
ด้านกายภาพ
- ชาย/หญิง
- โสด/สมรส
- ไม่จำกัดอายุ
ด้านจินตภาพ
- เป็นคนที่มีโรคประจำตัว
5. แนวความคิด (Concept)
5. แนวความคิด (Concept)
- เพื่อสุขภาพที่ดีที่สุด6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
เมื่อคุณได้เข้ามาทำการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งนี้คุณจะได้รับการรักษาที่ดีและการให้ความสำคัญแก่ผู้ป่วยที่มารักษาทุกท่าน
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
- สะอาด
- ปลอดภัย
8. ผลตอบสนอง (Desired response)
- เกิดความมั่นใจและตัดสินใจทำการรักษา
- เกิดความมั่นใจและตัดสินใจทำการรักษา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)